ภูมิคุ้มกันบำบัดอีกหนึ่งทางเลือกรักษามะเร็งเต้านม

มะเร็งเต้านม คือมะเร็งชนิดที่พบบ่อยเป็นอันดับ1ในผู้หญิงทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย แต่เดิมการรักษามะเร็งเต้านมมีวิธีการรักษาอยู่ 5 วิธี คือ  1) ผ่าตัด 2) ฉายแสง 3) ยาต้านฮอร์โมน 4) ยาเคมีบำบัด 5) ยามุ่งเป้า

ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาและนำเอาวิธีการรักษาโดยใช้ “ภูมิคุ้มกันบำบัด” มารักษามะเร็งเต้านม ซึ่งภูมิคุ้มกันบำบัดมีหลักการทำงานโดยใช้เซลล์ของร่างกายหรือระบบภูมิคุ้มกันของตัวผู้ป่วยเองเป็นตัวควบคุมเซลล์มะเร็งและกำจัดเซลล์มะเร็ง

การรักษามะเร็งเต้านมด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดถือได้ว่าเป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ได้ผลค่อนข้างดี และผลข้างเคียงค่อนข้างน้อย แต่หลังจากฉีดเซลล์เข้าไป 7-8 เดือน อาจมีผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน รับประทานอาหารไม่ได้ รู้สึกอ่อนเพลียไม่มีแรง แต่หลังจากนั้นอาการจะค่อย ๆ ดีขึ้น ท้องจะยุบลงและมีอาการเหนื่อยน้อยลง จนกลับเป็นปกติ ทั้งนี้การจะรักษาด้วยวิธีใดนั้น แพทย์จะพิจารณาเป็นราย ๆ ไป

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม

ศูนย์มะเร็ง
โทร. 02-734-0000 ต่อ 2720

Related Posts

ธันวาคม 19, 2023

TACE เคมีบำบัดทางหลอดเลือด ทางเลือกในการรักษามะเร็งตับตรงจุด

โรคมะเร็งตับ เป็นโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย ผู้ป่วยมะเร็งตับมักจะมาพบแพทย์เมื่อมีอาการมากแล้วหรือเป็นระยะท้ายของโรค ขนาดของก้อนมะเร็งเมื่อตรวจพบมักโตเกินกว่าจะผ่าตัดได้

พฤษภาคม 18, 2023

เป็น ”นิ่วในถุงน้ำดี” แต่ไม่รีบรักษา มีความเสี่ยงเป็น “มะเร็ง” มากกว่าคนทั่วไป

อาการปวดท้องบริเวณด้านขวาบน มักเป็นอาการเสี่ยงของโรคนิ่วในถุงน้ำดี ซึ่งหลายคนเมื่อตรวจเจอแล้ว อาจยังไม่รีบรักษาเพราะคิดว่าอาการปวดที่เป็นยังไม่รุนแรง แต่การเก็บนิ่วในถุงน้ำดีไว้กับตัว นอกจากอาจจะเกิดถุงน้ำดีอักเสบหรือท่อน้ำดีอักเสบในอนาคตแล้ว คนที่มีนิ่วในถุงน้ำดีที่ขนาดใหญ่ยังมีความเสี่ยงเป็น “โรคมะเร็งถุงน้ำดี” มากกว่าคนทั่วไป ซึ่งถึงแม้จะเป็นโรคที่พบได้น้อยมาก แต่มีอัตราการการรอดชีวิตต่ำ เนื่องจากในระยะแรกมักไม่แสดงอาการ แต่เมื่อตรวจพบมักจะเข้าสู่ระยะ 3 และ 4 ซึ่งมีการลุกลามไปยังอวัยวะอื่นแล้ว

มีนาคม 22, 2023

มะเร็งระยะแพร่กระจายในช่องท้อง รักษาได้ด้วย CRS ร่วมกับ HIPEC ประสิทธิภาพสูง เพิ่มอัตราการรอดชีวิต

“มะเร็งระยะแพร่กระจาย” เป็นคำที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นกับตัวเองหรือคนรอบตัว เพราะอาจคิดว่าหมดหนทางในการรักษาแล้ว แต่ในปัจจุบันหากมะเร็งระยะแพร่กระจายไปสู่ช่องท้อง

ที่ตั้งและการเดินทาง​ ที่ตั้งและการเดินทาง​

 

วิธีการเดินทาง

ค้นหาเราบนแผนที่
 

การติดต่อและนัดหมาย​

[email protected]
 

บริการฉุกเฉิน​

เบอร์โทรติดต่อ : 02-734-0000